งานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุน ปีการศึกษา 2561
สาขาวิชาดนตรีสากล
ลำดับ | ชื่อผลงานวิจัย | ผู้รับทุน |
---|---|---|
1 | การศึกษาผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชาทฤษฎีดนตรีสากล 1 โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ ของนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีสากลชั้นปีที่ 1 | อาจารย์นพดล พันธุ์เพ็ชร์ |
2 | การพัฒนาทักษะการอ่านโน๊ตสากลเพื่อส่งผลต่อการเรียนรายวิชาการฟัง การอ่านและเขียนโน๊ตสากล | อาจารย์วัลลภ งามโคกกลาง |
สาขาวิชาภาษาไทย
ลำดับ | ชื่อผลงานวิจัย | ผู้รับทุน |
---|---|---|
1 | คนในนิทาน : ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์ในมุมมองการวิจารณ์เชิงนิเวศ | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญชนก นัยจรัญ |
2 | อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ในชื่อโรค ในระบบการแพทย์พื้นบ้าน 4 ภูมิภาคของไทย | อาจารย์ ดร.วาสินี มีเครือเอี่ยม |
3 | ศุภนิมิตและอาเพศในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา | อาจารย์ ดร.ปฐมพงษ์ สุขเล็ก |
4 | อุปกิเลสในนิทานพื้นบ้านภาคเหนือตอนล่าง | อาจารย์ ดร.สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ |
5 | การศึกษาเชิงวิเคราะห์ตำรายาวัดใหม่พรหมพิราม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก | อาจารย์ภัครพล แสงเงิน |
สาขาวิชาภาษาจีน
ลำดับ | ชื่อผลงานวิจัย | ผู้รับทุน |
---|---|---|
1 | การแปลคำกริยาที่มีความหมายโดยรองในภาษาจีน | อาจารย์ ดร.สุธัญญา ปานทอง |
2 | การศึกษาการแปลคำอุปลักษณ์รสชาติของอาหารในภาษาจีนของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม | อาจารย์ ดร.วศิน สุขสมบูรณ์วงศ์ และอาจารย์หทัยรัตน์ มัตยะสุวรรณ |
สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
ลำดับ | ชื่อผลงานวิจัย | ผู้รับทุน |
---|---|---|
1 | ลักษณะการปรากฎร่วมของคำกริยาหลายความหมายและคำกริยาความหมายคล้าย | รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐิรา ทับทิม |
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
ลำดับ | ชื่อผลงานวิจัย | ผู้รับทุน |
---|---|---|
1 | การใช้ภาษาอังกฤษในการฝึกประสบการ์วิชาชีพ/สหกิจศึกษาของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | อาจารย์ ดร.อุมาภรณ์ ยศเจริญ |
2 | การศึกษาปัญหาการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาเอกภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม | อาจารย์ปทุมพร บุญชุม |
3 | การศึกษาข้อผิดพลาดการแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยเพื่อการสื่อสารความหมายอย่างเป็นสากลนานาชาติของนักศึกษาสาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ | อาจารย์นันทภัค ประทีปแก้ว |
สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ
ลำดับ | ชื่อผลงานวิจัย | ผู้รับทุน |
---|---|---|
1 | การศึกษาการใช้คำปรากฎร่วม (Collocation) ในงานเขียนของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ | อาจารย์ทิศากร ไชยมงคง |
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ลำดับ | ชื่อผลงานวิจัย | ผู้รับทุน |
---|---|---|
1 | การศึกษาลวดลายในงานเครื่องปั้นดินเผาอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก | อาจารย์ ดร.ณริศรา พฤกษะวัน |
งานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุน ปีการศึกษา 2560
ผลงานทางวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีปฏิทิน พ.ศ.2561 (1 ม.ค. -31 ธ.ค. 2561)
ลำดับ | ชื่อบทความวิจัย | เจ้าของบทความวิจัย | สาขาวิชา | การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย | |
---|---|---|---|---|---|
ชื่อวารสารหรือแหล่งที่เผยแพร่ | ปีที่เผยแพร่ /เล่มที่ | ||||
1 | การศึกษาผลการใช้กลวิธีอาร์ อี เอ พี ที่มีต่อความสามารถในการอ่านตีความและการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม | ผศ.ดร.ขวัญชนก นัยจรัญ | ภาษาไทย | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ "พะเยาวิจัย" ครั้งที่ 7 | วันที่ 25-26 ม.ค. 61 |
2 | สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช: แง่คิดจาก "วีรบุรุษในวัฒนธรรมประเพณี" | ดร.สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ | ภาษาไทย | บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1 | ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย.61) |
3 | บทบาทหน้าที่ของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในการสร้างอัตลักษณ์ชุมชน ตำบลหนองกะท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก | ผศ.ดร.ขวัญชนก นัยจรัญ | ภาษาไทย | บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1 | ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค.61) |
4 | การวิเคราะห์ความถูกต้องในการลงรายการสิ่งพิมพ์ตามหลักเกณฑ์การลงรายการแบบเองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 และรูปแบบมาร์ก 21 ของนักศึกษาสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม | ผศ.น้อย คันชั่งทอง | บรรณารักษ์ฯ | บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารบรรณศาสตร์ มศว. ที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1 | ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค.2561) |
5 | การใช้คำในข่าวพาดหัวหนังสือพิมพ์ออนไลน์ภาษาญี่ปุ่นกับภาษาอังกฤษ | รศ.ดร.ณัฏฐิรา ทับทิม อ.พัทชา บุญยะรัตน์ อ.วิสิฏฐา แรงเขตรการ |
ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษ |
บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารครุพิบูล ที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 2 | ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค.2561) |
6 | รากนครา: การศึกษาโดยใช้แนวทางการวิจารณ์เชิงนิเวศ | ผศ.ดร.ขวัญชนก นัยจรัญ | ภาษาไทย | บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 2 | ปีที่ 37 ฉบับที่ 6 (พ.ย.-ธ.ค.2561) |
7 | การศึกษาความสามารถในการใช้คำพ้องของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม | ดร.สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์ | ภาษาญี่ปุ่น | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
8 | การวิเคราะห์โครงสร้างพาดหัวข่าวภาษาอังกฤษประเภทข่าวอาชญากรรมในหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ (ผาณิตา เชิดเชื้อ) | อ.ณัฐกานต์ เส็งชื่น | ภาษาอังกฤษธุรกิจ | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
9 | การศึกษาคำเหมือนที่ปรากฏในข่าวธุรกิจระหว่างหนังสือพิมพ์เดอะเนชั่นและหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ (ปรัชญาภรณ์ บรรเทา) | อ.ณัฐกานต์ เส็งชื่น | ภาษาอังกฤษธุรกิจ | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
10 | การวิเคราะห์โครงสร้างพาดหัวข่าวภาษาอังกฤษในหนังสือพิมพ์เอดะเนชั่น(จริยา ยั่งยืน) | อ.ณัฐกานต์ เส็งชื่น | ภาษาอังกฤษธุรกิจ | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
11 | การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในวรรณกรรมเรื่อง ลูกอีสานของคำพูน บุญทวี(จริยา คุ้มมา ณัฐพล วงศ์คงคำ) | อ.ภัครพล แสงเงิน | ภาษาไทย | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
12 | ตำนานพระยาโคตรบองในความทรงจำของชาวพิจิตร: กรณีศึกษาตำบลเมืองเก่าและตำบลโรงช้าง อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร (กุลภัทรา รุ่งเจริญ บุษราพร อินทรักษา แทนทัย บำรุงชล ศศิธร ยอดนุ่ม อุทุมทอง นวลป้อง) | อ.ภัครพล แสงเงิน | ภาษาไทย | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
13 | การวิเคราะห์หลักทิศ 6 จากพฤติกรรมของตัวละครใน เรื่องสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง(หน) (ธราธร เกิดใหม่ ศราวุฒิ ทรัพย์นาคี) | อ.ภัครพล แสงเงิน | ภาษาไทย | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
14 | การวิเคราะห์โครงสร้างนามานุประโยค(Noun Clause) ในหนังสืออ่านนอกเวลา เรื่องปริศนาหญิงชุดขาว(The Woman in White) (คณานนท์ เสือไว เพชรรัตน์ เมืองทา) | อ.อธิษฐาน งามกิจวัตร | ภาษาอังกฤษธุรกิจ | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
15 | การศึกษาคำยืมภาษาต่างประเทศที่ปรากฏในพจนานุกรมคำใหม่ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน | ผศ.ดร.สุชาดา เจียพงษ์ | ภาษาไทย | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร | วันที่ 31 ส.ค. 2561 |
16 | การวิเคราะห์คำที่มักเขียนวรรณยุกต์ผิดในภาษาไทย | ผศ.ดร.สุชาดา เจียพงษ์ | ภาษาไทย | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
17 | การใช้คำเรียกขานในภาษาหล่ม อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ | ผศ.ดร.สุชาดา เจียพงษ์ | ภาษาไทย | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
18 | ภาพสะท้อนค่านิยมในบทเพลงของณัฐวุฒิ ศรีหมอก(กอล์ฟ ฟักกลิ้งฮีโร่) | ดร.สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ | ภาษาไทย | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
19 | บทบาทของพิธีศพ: กรณีศึกษาพิธีศพจากตำบลบ้านกล้วย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย | ดร.สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ | ภาษาไทย | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
20 | การศึกษาวิเคราะห์ความเชื่อต่อศาลปู่ตาและศาลน้ำคำ: กรณีศึกษาตำบลกุดธาตุ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น | อ.ภัครพล แสงเงิน | ภาษาไทย | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
21 | การวิเคราะห์โครงสร้างกรรมวาจก ในหนังสืออ่านนอกเวลาเรื่องปริศนาหญิงชุดขาว | อ.อธิษฐาน งามกิจวัตร | ภาษาอังกฤษธุรกิจ | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
22 | การวิเคราะห์การใช้คำอุทานภาษาญี่ปุ่นที่ปรากฏในหนังสือการ์ตูนเรื่องบ้านนี้ต้องมีเหมียว | ผศ.ดร.ศุภลักษณ์ วิริยะสุมน | ภาษาญี่ปุ่น | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
23 | การศึกษาความหมายและประเภทของคำเลียนเสียงธรรมชาติในหนังสือการ์ตูนภาษาญี่ปุ่น | ดร.สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์ | ภาษาญี่ปุ่น | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
24 | การศึกษาการใช้สำนวนการกล่าวขอโทษในภาษาญี่ปุ่นจากอนิเมะ | อ.ต่อศักดิ์ ร่มส้มซ่า | ภาษาญี่ปุ่น | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
25 | การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องหลักเกณฑ์ในการเขียน GAIRAIGO สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม | อ.กนกรัตน์ ปิลาผล | ภาษาญี่ปุ่น | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
26 | การศึกษาความสามารถในการใช้รูปไวยากรณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สายศิลป์ภาษาญี่ปุ่น | อ.กนกรัตน์ ปิลาผล | ภาษาญี่ปุ่น | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
27 | การศึกษาความเข้าใจและความสามารถในการใช้คำกริยานุเคราะห์รูป You ของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลับราชภัฏพิบูลสงคราม | Aj. Kaori Morimoto | ภาษาญี่ปุ่น | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
28 | การศึกษาข้อผิดพลาดในการใช้คำกริยาแยกรวมในภาษาจีนของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม | อ.ดร.สุธัญญา ปานทอง | ภาษาจีน | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
29 | การวิเคราะห์ภาพสะท้อนทางสังคมในนิทานคุณธรรมจากพระราชดำรัสรัชกาลที่ 9 | อ.ดร.วาสินี มีเครือเอี่ยม | ภาษาไทย | บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 | วันที่ 23 มี.ค. 2561 |
30 | หม้อในมิติทางวัฒนธรรมไทย: การศึกษาจากวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ | อ.ดร.ปฐมพงษ์ สุขเล็ก | ภาษาไทย | บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1 | ปีที่ 40 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค.61) |
ผลงานทางวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีปฏิทิน พ.ศ.2560 (1 ม.ค. -31 ธ.ค. 2560)
ผลงานทางวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีปฏิทิน พ.ศ.2559 (1 ม.ค. -31 ธ.ค. 2559)
ผลงานทางวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีปฏิทิน พ.ศ.2558 (1 ม.ค. -31 ธ.ค. 2558)
ผลงานทางวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีปฏิทิน พ.ศ.2557 (1 ม.ค. -31 ธ.ค. 2557)
ผลงานทางวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีปฏิทิน พ.ศ.2556 (1 ม.ค. -31 ธ.ค. 2556)
ผลงานทางวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีปฏิทิน พ.ศ.2555 (1 ม.ค. -31 ธ.ค. 2555)